วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

CHAPTER 9


E-government

                รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า e-Government คือ วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ดำเนินงานภาครัฐ ปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน การบริการด้านข้อมูลและสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น สื่ออิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเข้าถึงบริการของรัฐ ประการสำคัญจะต้องมีความร่วมมืออย่างใกล้ชิดและเต็มใจจากทั้ง 3 ฝ่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจและประชาชน
                ผลพลอยได้ที่สำคัญที่จะได้รับคือ ธรรมาภิบาลและความโปร่งใสที่มีมากขึ้นในกระบวนการทำงานของระบบราชการ อันเนื่องมาจากการเปิดเผยข้อมูล และประชาชนสามารถเข้ามาตรวจสอบได้ตลอดเวลา

การแบ่งกลุ่มตามผู้รับบริการของ e-Government 


B2C ภาคธุรกิจสู่ผู้บริโภค (Business to Consumer)
B2B ภาคธุรกิจสู่ภาคธุรกิจ (Business to Business)
G2G ภาครัฐสู่ภาครัฐด้วยกัน (Government to Government)
G2C ภาครัฐสู่ประชาชน (Government to Citizen)
G2B ภาครัฐสู่ภาคธุรกิจ (Government to Business)
G2E ภาครัฐสู่ภาคข้าราชการและพนักงานของรัฐ (Government to Employee)

เงื่อนไขการพัฒนา e-Government  โดยมีผลสำเร็จตรงกับความต้องการของประชาชน
                E-Governance จะต้องมีการพัฒนา ใช้ประโยชน์ และบังคับใช้นโยบาย กฎหมาย และกฎระเบียบอื่นใดที่จำเป็นต่อการสนับสนุนการทำงานของสังคมและเศรษฐกิจใหม่ ที่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สังคมดิจิตอล) เป็นกลไกในการขับเคลื่อน
          Digital Society สังคมดิจิตอล เป็นสังคมและชุมชนที่ก้าวหน้าทางวิทยาการ ที่ประชาคมในกลุ่มสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับชีวิตประจำวัน ในการทำงาน และความบันเทิง ตลอดจนมีความสามารถในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
          Digital Divide เป็นผลจากสังคมอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีประชาชนกลุ่มที่ไม่สามารถเข้าถึง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต ทำให้ประชาชนกลุ่มนี้ด้อยโอกาสและไม่สามารถเข้าถึงบริการ


จากเงื่อนไขทั้งสามประการที่กล่าวมานั้น e-Government จะต้องพัฒนาสิ่งต่อไปนี้ให้เกิดขึ้น
  • เพิ่มขีดความสามมารถของประชาชนจำนวนมาก ให้เข้าถึงบริการของรัฐ
  • เพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและหน่วยราชการ
  • เพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการทำงานราชการ และปรับกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) ของระบบราชการต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ประเภทของบริการ e-government
บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรัฐบาลจะต้องกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถคาดหวังสิ่งที่ควรจะได้รับจากรัฐบาล บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน


องค์ประกอบของ e-Government
1. ความพร้อมของผู้นำ
2.ความพร้อมในเชิงโครงสร้างพื้นฐาน
3. ความพร้อมของภาครัฐบาล
4. ความพร้อมของประชาชนและสิ่งแวดล้อม

ประชาชนจะได้อะไร จาก E-government
  • สร้างโอกาสให้ประชาชนได้เลือกใช้บริการที่หลากหลายผ่านอินเทอร์เน็ต
  • ประชาชนได้รับบริการจากรัฐที่ดีขึ้น
  • รัฐให้ข้อมูลกับประชาชนได้ มากขึ้น
  • ลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการของรัฐ
  • ลดความยุ่งยากของกฎเกณฑ์ เพิ่มความโปร่งใสในการทำงาน
  • เพิ่มความเชื่อมั่นของประชาชนในการรับบริการอย่างปลอดภัย และเป็นส่วนตัว
ทำไมจึงต้องมี e-Government
                ในโลกยุคไร้พรมแดนนั้น e-Commerce ถือว่าเป็นยุทธวิธีสำคัญในการแข่งขันเกี่ยวกับการค้า การผลิต และการบริการ จึงทำให้เกิดคำว่า B to C (Business to Consumer) ในขณะเดียวกันประเทศต่างๆ เริ่มมองเห็นว่า แม้จะพัฒนา e-Commerce ให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นเพียงใดก็ตาม ถ้าขาดเสียซึ่งตัว G (Government) ก็จะขาดความคล่องตัวไปด้วย G จึงมีบทบาทสำคัญในนโยบายของนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทย และทำใ้ห้เกิดคำใหม่ คือ G to B G to C และ G to G ซึ่งก็คือการนำ e-Commerce มาใช้กับการพัฒนาประเทศและบริการของภาครัฐได้นแนวทางที่เรียกว่า e-Government (electronic-Government) หรือ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ นั่นเอง 

ลักษณะการให้บริการของ e-Government
                หลักสำคัญของการสร้าง e-Government คือการนำบริการของภาครัฐสู่ประชาชน โดยใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อในการให้บริการ โดยหลักการของ
  • ที่เดียว   
  • ทันใด   
  • ทั่วไทย  
  • ทุกเวลา  
  • ทั่วถึงและเท่าเทียม  
  • โปร่งใสและเป็นธรรมาภิบาล






วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

CHAPTER 8

 


E-Marketing ย่อมาจากคําว่า Electronic Marketing หรือเรียกว่า  การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การดําเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ตางๆ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน เข้ามาเป็นสื่อกลาง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือพีดีเอที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกนด้วยอินเทอร์เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง
E-marketing plan
 
วัตถุประสงค์ของโครงสร้างการทํา  E-marketing Plan เพื่อ
1.               Cost reduction and value chain efficiencies
2.               Revenue generation
3.               Channel partnership.
4.               Communications and branding
E-marketing planning

          การวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการตลาดของกลยุทธ์การทำ e – business the SOSTAC™ framework developed by Paul Smith (1999) ซี่งสามารถสรุปขั้นตอนที่เกี่ยวข้องได้ 6 ขั้นตอนด้วยกัน คือ 
  1. Situation – where are we now?
  2. Objectives – where do we want to be?
  3. Strategy – how do we get there
  4. Tactics – how exactly do we get there?
  5. Action – what is our plan?
  6. Control – did we get there?
   ข้อดี ของ E-Marketing เมื่อเทียบกับสื่ออื่น
1.               เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมากกว่า 800 ล้านคน 225 ประเทศ 104 ภาษา 
2.               สามารถวัดผลได้แม่นยำกว่าสื่ออื่น
3.               ราคาลงโฆษณาถูกกว่าเมื่อเทียบกับสื่ออื่น
4.               จำนวนผู้ใช้สื่อนี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 
5.               คุณภาพของผู้ใช้มีมากกว่าสื่ออื่น
Click and Click
       เป็นการให้บริการบนอินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ไม่มีธุรกิจ ในโลกจริง
Click and Mortar
       เป็นรูปแบบที่มีธุรกิจจริง (Real) อยู่แล้วแต่ขยายมาทำในอินเทอร์เน็ต
 เปรียบเทียบกันระหว่าง 2 โมเดล
 Click & Click
     ข้อดี
1.               ต้นทุนต่ำ ใช้คนน้อย (คนเดียวก็ทำได้)
2.               เริ่มต้นได้ง่าย
3.               เปิดกว้างมากกว่า
4.               ไม่ต้องมีความชำนาญมาก ก็เริ่มทำได้
      ข้อเสีย
1.               ขาดความชำนาญ
2.               สร้างฐานลูกค้าใหม่
3.               รองรับลูกค้า Online ได้อย่างเดียว
4.               ความน่าเชื่อถือน้อย
 Click & Mortar
      ข้อดี
1.               มีความเชี่ยวชาญ
2.               มีลูกค้าอยู่แล้ว
3.               น่าเชื่อถือ
4.               รองรับลูกค้าได้ online และ Offline
     ข้อเสีย
1.               ต้นทุนสูง ใช้คนมาก
2.               ใช้เวลาในการจัดทำ
3.               การทำงานต้องยึดติดกับบริษัท
การเริ่มต้นการตลาดออนไลน์
1.               กำหนดเป้าหมาย
2.               ศึกษาคู่แข่ง
3.               สร้างพันธมิตร
4.               ติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็น
5.               ดูแลและปรับปรุงเว็บไซต์
วิธีการออกแบบแบนเนอร์ให้ได้ผล
1.               ขนาดยิ่งใหญ่ยิ่งมีโอกาสการคลิกเยอะ
2.               เปลี่ยนแบนเนอร์บ่อย (1 แคมเปญ ควรมีอย่างน้อยแบนเนอร์ 2 แบบ) 
3.               ใช้คำพูดที่จูงใจ ดึงดูดในแบนเนอร์ เช่น กดที่นี่” “โอกาสสุดท้าย
4.               ฟรี.! ยังเป็นคำที่มีอนุภาคมากที่สุด
5.               การใช้ภาพเคลื่อนไหว จะมีคนคลิกมากว่า โฆษณาภาพนิ่ง (เคลื่อนไหวอย่างเร็ว)
6.               การใช้เซ็กซ์ ช่วย.. ยังไงคนก็สนใจ
7.               ใช้สีสันโดดเด่น มีคนสนใจมากกว่า สีดำๆ
การออกแบบที่ดี 
1.               ขนาดไฟล์ของแบนเนอร์ไม่ควรใหญ่จนเกินไป
2.               ทำลิงค์ไปหน้าที่ต้องการหลังจากกด แบนเนอร์
3.               ทดสอบแบนเนอร์ก่อน ขึ้นจริงๆ
 ทำไมต้องใช้ Search Engine?
     จากข้อมูลของ Wall Street Journal ได้บอกไว้ว่า
§  85% ของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตทั่วโลก ใช้ Search Engine 
§  87% ของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต จะหาเว็บไซต์จาก Search Engine (ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจาก Georgia Tech) 
§  70% ของการซื้อขายอีคอมเมิร์ซเริ่มต้นจากการใช้เสิร์ชค้นหา (Source: Forrester/IAB)
1. Natural Search Engine Optimization (SEO)
 
     ข้อดี
1.               ฟรี Traffic 
2.               ผู้ชมจะคลิกในส่วนนี้สูงถึง 60-70% 
     ข้อเสีย
1.               ใช้เวลานานในการขึ้นอันดับ
2.               สามารถเลือกจำนวน keyword ได้จำกัดแค่ 2-5 คำต่อเนื้อหาหนึ่งหน้าของเว็บเพจ
3.               ไม่สามารถรักษาสถานะของอันดับได้แน่นอน
4.               ไม่สามารถวัดค่า ROI ที่แน่นอนใช้เวลานานกว่าจะรู้ผลของแต่ละคำ
2. Paid Search Advertising (Pay Per Click Advertising)
 
     ข้อดี
1.               พร้อมใช้ในเวลาไม่ถึง 15 นาที
2.               แม้ว่า Search Engine จะเปลี่ยนแปลงการจัดใหม่ อันดับของคุณจะคงที่อยู่เสมอ 
3.               สามารถเลือกจำนวน keyword ได้ไม่จำกัด 
4.               ควบคุมค่าใช้จ่าย และสามารถวัดค่า ROI ได้แม่นยำและใช้เวลาไม่นาน
     ข้อเสีย
1.               ต้องเสียเงินทุกครั้งเมื่อมีคนคลิก Ad
2.               ต้องใช้ทักษะที่ค่อนข้างสูงในการบริหาร Ad
Raid Marketing (การตลาดแบบจู่โจม)
     ใช้คนเป็นจำนวนมากในการเข้าไป สร้างกระแสตามแหล่งต่างๆ ที่มีคนเยอะ chat rooms, forums, discussion groups etc around the world ใช้ความเป็น ส่วนตัวเข้าไปสร้างกระแสสังคมใน Virtual Community
ทำ Signature ใน E-Mail (Out-Look, Hotmail)
§  ทำทุกคนในบริษัท
§  ใส่ข่าวสารหรือโฆษณาลงไปก็ได้
          วิธีการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์-Online ลงทะเบียนใน Web Directory, Search Engineไปเขียนบทความที่อื่นๆ แล้วทำ link กลับมาแจ้งผู้เข้าเยี่ยมชมเมื่อ เว็บปรับปรุงใหม่
แบบฟรี.! นำ URL ไปติดไว้ทุกที่ที่ติดได้  นามบัตร, หัว-ซองจดหมาย, ที่อยู่บริษัทติดสติกเกอร์หลังรถตัวเอง, เพื่อน, ญาติพี่น้อง, คนรู้จักและ ไม่รู้จัก

รูปแบบรายได้จากการทำเว็บไซต์
1.               ขายโฆษณาออนไลน์
2.               ขายสินค้า E-Commerce
3.               ขายบริการหรือสมาชิก
4.               ขายข้อมูล (Content)
5.               การจัดกิจกรรม, งาน
6.               การให้บริการผ่านโทรศัพท์มือถือ
7.               การรับพัฒนาเว็บไซต์
     การทำโพล หรือ แบบสำรวจออนไลน์  การทำโพล หรือ แบบสำรวจออนไลน์ ใช้ฐานลุกค้าของเว็บไซต์นั้นๆ เป็นผู้ทำแบบสำรวจผ่านเว็บไซต์
     ข้อดี
1.               ประหยัดค่าใช้จ่าย
2.               ประหยัดเวลา รวดเร็ว 
3.               รู้ผลได้ทันที
4.               สะดวก
5.               เลือกกลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจน
6.               การได้ข้อมูลมาอย่างสะดวกและรวดเร็ว 
7.               การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างสะดวกรวดเร็ว
8.               ต้นทุนในการทำการวิจัยประหยัด

ช่องทางการทำ - ส่งผ่าน E-Mail
 
·                     ทำผ่านหน้าเว็บไซต์ขายสินค้าทำ E-Commerce- การขายสินค้าผ่านหน้าเว็บ โดยคุณอาจจะมีสินค้าหรือไม่มีสินค้าก็ได้ เช่น notebook, Applicationการขายบริการหรือสมาชิก
·                     ให้บริการเช่า แอพพิลเคชั่น (ASP) Ex. Thaimisc, TARAD.com ขายบริการที่ดีกว่า  Ex. Keepalbum.comขายข้อมูล- ค่าเข้าไปดูข้อมูลในเว็บไซต์ รูปภาพหรือข้อมูล Ex. Stock information, จำกัดการเข้าดู Ex. Balloon Album จัดกิจกรรมและงาน
·                     งานสัมมนา, งานสอน, การแข่งกีฬา การนัดพบปะสังสรรค์ การให้บริการผ่านมือถือ- SMS, Logo-Ringtone, 1900 Ex. Sanook MobileMagic, Siam2you , Monozone.com การให้บริการผ่านมือถือ - www.SmileSMS.com - www.Monozone.com

รูปแบบการชำระเงินแบบใหม่
1.               Micro Payment - SMS Payment, IVR Payment (1900)
2.               SMS, Logo-Ringtone, 1900 Ex. Sanook MobileMagic, Siam2you , Monozone.com
การรับพัฒนาเว็บไซต์- ใช้ความรู้ที่มีในการรับพัฒนาเว็บไซต์ มาให้บริการ
1.               ออกแบบเว็บ (Web Design)
2.               เขียนโปรแกรม (Web Programming)
3.               ดูแลเว็บ (Web Maintenance)
4.               การตลาดออนไลน์ (Web Marketing)
5.               ที่ปรึกษา (Consultant)
6.               อาจนำทั้งหมดมาทำเป็น Package 

Cs กับความสำเร็จของการทำเว็บ
1.               C ontent  (ข้อมูล)
2.               C ommunity (ชุมชน,สังคม)
3.               C ommerce (การค้าขาย)
4.               C ustomization (การปรับให้เหมาะสม)
5.               C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
6.               C onvenience (ความสะดวกสบาย)